ไวรัสโรต้า(Rotavirus)

  • ไวรัสโรต้าเป็นการติดเชื้อที่มักพบมากในช่วงฤดูหนาว และส่วนใหญ่พบได้ในเด็ก
  • การติดต่อของเชื้อโดยผ่าน fecal-oral route หรือหากมีการปนเปื้อนอุจจาระในสิ่งแวดล้อมและสามารถติดได้โดยการสัมผัส รับประทานอาหารหรือน้ำที่มีการปนเปื้อนเชื้อ
  • เป็นไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคกระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ (ทำให้มีอาการไข้ ปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียนและท้องเสีย หากในเด็กเล็กอาจจะมีอาการขาดน้ำและนำไปสู่การเสียชีวิตได้ ส่วนผู้ใหญ่สามารถเกิดขึ้นได้แต่จะมีอาการเล็กน้อย)
  • การรักษา ไม่มียาที่รักษาได้หายขาดเป็นเพียงการรักษาแบบประคับประคองอาการเท่านั้น(เช่น การให้สารน้ำทดแทน เพื่อป้องกันการสูญเสียน้ำในร่างกาย) โดยอาการจะดีขึ้นใน 2-3 วัน
  • สำหรับการป้องกัน การล้างมือและการทำความสะอาดเป็นสิ่งที่สำคัญในการป้องกันโรค
  • สำหรับวัคซีน(Rota vaccine) ในประเทศไทยขณะนี้ยังเป็นวัคซีนทางเลือก โดยจะช่วยป้องกันการเกิดโรคได้ประมาณ 70% โดยฉีดในเด็กอายุ 2 เดือนเป็นต้นไป (จำนวนครั้งของการฉีดวัคซีนขึ้นอยู่กับชนิดและประเภทของวัคซีน)

ที่มา : https://www.cdc.gov/rotavirus/index.html

กระบวนงานการฝึกภาคปฏิบัติทางทะเลของนักเรียนนายเรือ

 

องค์ความรู้ในการปฏิบัติงานของหน่วยในขั้นตอนต่าง ๆ เป็นข้อมูลเฉพาะ  ติดต่อ รร.นร.

จะเขียน proposal อย่างไร (How To Write a Proposal)

นนร. หลายนายคงรู้จัก proposal กันบ้างแล้ว โดยเฉพาะ นนร. ที่เริ่มทำโครงงาน เพราะหลังจากที่ความคิดตกผลึก ได้ข้อตกลงใจกันในกลุ่มแล้วว่าจะทำอะไร ก็ต้องหาข้อมูล ศึกษาค้นคว้าเรื่องที่ตนสนใจ นำมาเขียน proposal เพื่อขออนุมัติการทำโครงงานนั้น

กระบวนการเข้าร่วมการแข่งขันเรือใบรีกัตต้า

 

กองวิชาการเรือและเดินเรือจะส่งนักกีฬาเข้าร่วมการแข่งขันเรือใบทุกปีที่ นนร.ไม่ติดภารกิจ เพราะในการเข้าร่วมการแข่งขัน ต้องใช้เวลาฝึกฝน ซึ่งอาจจะกระทบกิจกรรมอื่น ๆ ของ นนร.ได้

การจัดการแข่งขันเรือใบรีกัตต้า กำหนดในเดือนธันวาคมของทุกปี ซึ่งผู้เกี่ยวข้องของ กวกด. (คือ น.ต.ธารา แก้วอรุณ) จะเป็นผู้ดำเนินการตั้งแต่ต้นจนจบ กล่าวคือตั้งแต่ได้รับการประสานให้เข้าร่วมการแข่งขัน จนถึงนำเรือกลับ รร.นร. และรายงานผล รวมทั้งผลักใช้งบประมาณต่าง ๆ