การเปลี่ยนผ่านหลักสูตร รร.นร. (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2558) เป็น (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2563)
- การเปลี่ยนผ่านหลักสูตร รร.นร. (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2558) เป็น (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2563)
โดย น.ต. ผศ.สันติ งามเสริฐ อาจารย์ ฝศษ.รร.นร.
โดย น.ต. ผศ.สันติ งามเสริฐ อาจารย์ ฝศษ.รร.นร.
Education RTNA Model : การจัดการความเสี่ยงด้านการศึกษาแ…
PMID Model : การจัดการความเสี่ยงด้านการรับ/ส่งเสบียง ขอ…
QISKID Model : การจัดการความเสี่ยงด้านการบริหารจัดการกำ…
การเสนอขอดำรงตำแหน่งทางวิชาการของโรงเรียนนายเรือ
การมีตำแหน่งทางวิชาการเป็นตัวบ่งชี้ที่แสดงให้เห็นถึงมาตรฐานและคุณภาพทางวิชาการของสถาบันและผู้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการนั้น ๆ การเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการในระดับที่สูงขึ้น แสดงถึงการพัฒนางานวิชาการของอาจารย์และสถาบันอุดมศึกษา และยังแสดงให้เห็นถึงคุณภาพและประสิทธิภาพด้านการบริหารการศึกษาของสถาบันการศึกษานั้น ๆ ด้วย นอกจากนี้ตำแหน่งทางวิชาการยังเป็นตัวชี้วัดที่เป็นที่ยอมรับโดยทั่วไปของบุคลากรทางการศึกษาที่สะท้อนถึงความรู้ ความสามารถ กระบวนการในการสอน การผลิต
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ รวมไปถึงการมีจริยธรรมและจรรยาบรรณทางวิชาการของอาจารย์ด้วย ดังนั้น รร.นร. ซึ่งเป็นสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาของ ทร. และยังเป็นแหล่งผลิตนายทหารสัญญาบัตรหลักของ ทร. จึงต้องให้ความสำคัญและส่งเสริมให้ครูอาจารย์มีตำแหน่งทางวิชาการมากขึ้น และได้รับการเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการในระดับที่สูงขึ้นด้วย เพื่อเป็นขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานในบทบาทครูอาจารย์ ซึ่งจะสามารถสะท้อนประสิทธิภาพด้านการบริหารการศึกษาในเรื่องการพัฒนาครูอาจารย์ได้เป็นอย่างดี
โดยการเสนอขอดำรงตำแหน่งทางวิชาการของโรงเรียนนายเรือ มีขั้นตอนที่สำคัญ จำนวน 8 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้
ขั้นที่ 1 ผู้ขอเสนอรายงานและผลงานทางวิชาการ
ขั้นที่ 2 ประชุมสภาการศึกษา รร.นร.
ขั้นที่ 3 สภาการศึกษา รร.นร. รับรองผลการพิจารณา
ขั้นที่ 4 รร.นร.แต่งตั้งคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
ขั้นที่ 5 ผู้ทรงคุณวุฒิเสนอผลการพิจารณาต่อสภา รร.นร.
ขั้นที่ 6 รร.นร. ขอความเห็นชอบ ทร. ให้ข้าราชการดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ขั้นที่ 7 ทร. เสนอขออนุมัติแต่งตั้งให้นายทหารสัญญาบัตรของ รร.นร. ให้ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ขั้นที่ 8 ทร. แต่งตั้งให้ข้าราชการดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
สื่อการสอนวิชาแคลคูลัส 2
ทบทวนเรื่องการอินติเกรตทีละส่วน (by part)
ทบทวนเรื่องการแทนค่าตรีโกณมิติ (trigonometry substitution)
ทบทวนเรื่องการแยกเศษส่วนย่อย (partial fraction)
ทบทวนเรื่องการเขียนสมการในพิกัดเชิงขั้ว
ทบทวนเรื่องการหาพื้นที่โดยใช้อินติเกรตสองชั้น (double integral)
เอกสารประกอบการสอน การทดลองที่ 1 กฎของโอห์มและการนำไปใช…
เปิดเครื่องคอมพิวเตอร์แล้วเครื่องไม่ทำงาน – เช็คร…
โครงงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า การเตรียมการก่อนเริ่มวิชาเตรียม…